ผู้เขียน หัวข้อ: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  (อ่าน 226 ครั้ง)

ออฟไลน์ watamon

  • Edge LED TV member
  • ***
  • กระทู้: 230
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
« เมื่อ: กรกฎาคม 25, 2017, 07:30:34 pm »

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : 
อยู่ในจำพวกไม้เลื้อยเป็นเถาวัลย์ เนื้อแข็ง ชอบขึ้นพาดกับต้นไม้ใหญ่
  * ใบกวาวเครือแดง ใบใหญ่คล้ายใบของต้นทองกวาว
    * ดอกกวาวเครือแดง ดอกใหญ่ คล้ายดอกแคแสด เป็นพวงระย้าเหมือนดอกทองกวาว ฝักเล็กแบนบาง
    * หัวกวาวเครือแดง ลงใต้ดินคล้ายหัวมันแกวใหญ่ๆ เปลือกสีน้ำตาล ฝานเปลือกออกจะมีสีแดงสดซึมออกมา เนื้อในสีขาว มีอายุยืน บางหัวใหญ่เท่าตัวคนก็มี มีรากเหง้า และลำต้นเลื้อยพันไปทั่วกับต้นไม้ใหญ่ข้างเคียง
    * รากกวาวเครือ มีรากแขนงแยกจากเหง้าเลื้อยไปรอบๆ หลายเมตร
สรรพคุณกวาวเครือแดง
 กวาวเครือแดงกับภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศในผู้ชาย หย่อนสมรรถภาพทางเพศ เป็นคำเรียกรวม ๆ ของกลุ่มอาการที่สมรรถภาพทางเพศไม่ปกติออกไปจนทำให้ตนเอง หรือคู่ครอง ไม่ได้รับความสุขในการร่วมเพศ อาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศในผู้ชาย ได้แก่ การที่อวัยวะเพศไม่แข็งตัวหรือแข็งตัวไม่นานพอ การหลั่งเร็ว การไม่ถึงจุดสุดยอด และความเจ็บปวดในขณะร่วมเพศ สาเหตุโดยทั่วไปอาจเกิดจาก ภาวะที่คู่ของตนมีปัญหาหย่อนสมรรถภาพทางเพศเลยพลอยทำให้ตัวเองมีปัญหาไปด้วย หรืออาจจะเกิดจากการขาดทักษะ รวมไปถึงปัญหาทางจิตใจและร่างกาย เช่น ความเครียด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีรายงานข่าวเกี่ยวกับภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ พบว่า ภาวะ ไม่แข็งตัว ( อีดี หรือ Erectile Dysfunction ) เป็นข้อมูลที่ถูกถามบ่อยมากที่สุด และพบว่า ปัญหาด้านสุขภาพก็เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งที่มีอิทธิพลต่อการเกิด อีดี นอกจากนี้ พฤติกรรมเสี่ยง เช่นการสูบบุหรี่ ก็มีผลกระทบได้เช่นกัน โดยมีข้อมูลในข่าวระบุว่า ชายไทยวัย 40 ปีขึ้นไปกว่า 30 % มีปัญหาหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
สมุนไพรกวาวเครือแดง
 เป็นสมุนไพรสำหรับเพศชายอย่างแท้จริง เพราะมีสรรพคุณ ในการบำรุงร่างกาย เป็นยาอายุวัฒนะ และที่สำคัญที่สุดยังช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยเพิ่มคุณภาพของอสุจิ มีฤทธิ์เพิ่มความแข็งตัวของอวัยวะเพศ เช่นเดียวกับยาไวอากร้า
     ตำรายาไทย: หัว รสเย็นเบื่อเมา บำรุงเนื้อหนังให้เต่งตึง บำรุงสุขภาพ เป็นยาอายุวัฒนะ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทำให้หน้าอกโต บำรุงความกำหนัด ราก แก้ลมอัมพาต แก้โลหิต ผสมรากสมุนไพรอื่นอีกแปดประเภทเรียกว่า พิกัดเนาวโลหะ ได้แก่ รากทองกวาว รากทองหลางหนาม รากทองหลางใบมน รากทองโหลง รากทองพันชั่ง รากขันทองพยาบาท รากใบทอง และรากจำปาทอง ใช้แก้โรคดี เสมหะ ลมที่เป็นพิษ แก้ริดสีดวง ทำลายพยาธิ ดับพิษ ถอนพิษ ชำระล้างลำไส้ แก้โรคตับ แก้ลม ขับระดูร้าย สมานลำไส้ เปลือกเถา รสเย็นเบื่อเมา แก้พิษงู
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : กวาวเครือเเดง

ออฟไลน์ watamon

  • Edge LED TV member
  • ***
  • กระทู้: 230
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
Re: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: สิงหาคม 24, 2017, 10:01:15 am »
ลักษณะทางพฤกาศาสตร์ของกวาวเครือแดง