ผู้เขียน หัวข้อ: เจาะน้ำบาดาลสกลนคร โทร 095-1683870  (อ่าน 44 ครั้ง)

ออฟไลน์ badanHome

  • LCD TV member
  • **
  • กระทู้: 133
    • ดูรายละเอียด
เจาะน้ำบาดาลสกลนคร โทร 095-1683870
« เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2021, 11:59:26 pm »
เจาะบาดาลสกลนคร โทร 095-1683870
การสำรวจน้ำบาดาล (Groundwater Exploration)
เจาะบาดาลสกลนครโทร 095-1683870 โดยใช้เครื่องมือที่ทันสมัย
ช่างเจาะบาดาลสกลนคร  , เจาะบาดาลการเกษตรสกลนคร  ,  เจาะบาดาลยุคใหม่สกลนคร
แนะนำเจาะบาดาลไฮเทค  รับสำรวจหาแหล่งน้ำบาดาลฟรี!! ช่างขุดเจาะบาดาล  การขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล






 
            หลาย ๆ คนอาจจะสงสัยใช่ไหมว่า เราจะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำบาดาลในบริเวณที่ดินของเราอยู่ลึกแค่ไหน และเราจะสามารถสูบมาใช้ได้วันละเท่าไหร่ และเขามีวิธีการสำรวจอย่างไร
ในอดีตคนเราพยายามจะเอาชนะธรรมชาติมาโดยตลอด ซึ่งก็แพ้บ้าง ชนะบ้างเป็นธรรมดา และการหาแหล่งน้ำมาทดแทนน้ำผิวดินก็เหมือนกัน เราก็มีวิวัฒนาการมาโดยตลอด
สมัยก่อนน้ำบาดาลค่อนข้างตื้น ดังนั้นเราสามารถขุดบ่อลึกประมาณไม่ถึงสิบเมตร ก็ถึงชั้นน้ำบาดาลและเราก็มีน้ำใช้ได้ตลอดทั้งปี ปัจจุบันจำนวนคนมากขึ้น ความต้องการใช้น้ำก็มากขึ้นด้วยเช่นกัน ดังนั้นระดับน้ำบาดาลก็ลดลงไปเรื่อยๆ กล่าวคือเราต้องขุดลึกลงไปหลายสิบเมตรจึงจะเจอน้ำ และมันก็เกินกำลังของคนที่จะขุดด้วยจอบกับเสียม จึงต้องใช้เครื่องมือใหญ่ๆเข้ามาช่วย เช่น เครื่องเจาะน้ำบาดาล เป็นต้น
    การให้น้ำของบ่อบาดาลต่างๆ (Well yield) จากวัตถุธรณีต่างๆ (Various geologic materials)
 
-ทรายหยาบและกรวด บาซอลท์ 1,000 - 20,000 ม3/วัน
 
-โพรงหินปูน 500 - 5,000 ม3/วัน
 
-ทรายและกรวดผสมวัตถุเม็ดละเอียด หินทราย 100 - 2,000 ม3/วัน
 
-รอยแตกและหินผุ 100 - 500 ม3/วัน

ค่าเหล่านี้เป็นเพียงประมาณไว้เป็นแนวทางเท่านั้น การให้น้ำของบ่อจะขึ้นอยู่กับ Transmissity , specific yield or Storage Coeffcient ของชั้นน้ำ ความลึกของตะแกรงบ่อ ระยะน้ำลดในบ่อ ขนาดแผ่กว้างของชั้นน้ำ การสร้างและสภาพของบ่อ บ่อที่อยู่ในหินแข็ง น้ำทั้งหมดจะได้จากรอยแตก (Cracks) รอยร้าว(Fissures) โพรงลำธาร (Solution channel) หรืออื่นๆที่เรียกว่า Secondary porosity
 
         การสำรวจผิวดิน เป็นการสำรวจด้วยวิธีธรณีฟิสิกส์ เพื่อช่วยเสริมให้ข้อมูลถูกต้องยิ่งขึ้น โดยอาศัยความแตกต่างของคุณสมบัติของหิน และแร่ที่ประกอบหินเป็นสำคัญ
 
        คุณสมบัติทางกายภาพของหินที่สำคัญที่ถือเป็นพื้นฐานของการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ คือ
 
        คุณสมบัติทางไฟฟ้า ได้แก่ ความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ (Electrical resistivity) ใช้เป็นพื้นฐานในการสำรวจธรณีฟิสิกส์แบบ Earth Resistivity method
ความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของหิน Electricity and density of rocks) จะมีผลต่อความเร็วของคลื่นสั่นสะเทือน (Seismic wave) เมื่อผ่านชั้นหินและดินต่างๆเป็นคุณสมบัติที่ใช้เป็นพื้นฐานของการสำรวจธรณีฟิสิกส์แบบ seismic method
ความหนาแน่นของหิน (Density of rocks) มีผลต่อขนาดและแรงดึงดูดของโลก คุณสมบัติทางกายภาพที่ใช้เป็นพื้นฐานของการสำรวจธรณีฟิสิกส์แบบ Gravitational method
คุณสมบัติทางแม่เหล็กของแร่ประกอบหิน (magnetic properties) จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งต่างๆกัน คุณสมบัติทางกายภาพที่ใช้เป็นพื้นฐานของการสำรวจธรณีฟิสิกส์แบบ Magnetic method
บริการรถเจาะบาดาลสกลนคร

       น้ำบาดาล (อังกฤษ: groundwater) คือน้ำที่ถูกกักเก็บหรือสะสมตัวอยู่ใต้ดิน อาจสะสมตัวอยู่ตามรอยแตก รอยแยกของชั้นหิน หรืออาจสะสมตัวอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดกรวด หรือเม็ดทรายใต้ผิวดิน น้ำใต้ดินหรือน้ำบาดาลแย่งออกได้เป็น 2 โซนคือ unsaturated zone เป็นโซนที่มีทั้งน้ำและอากาศ และ saturated zone เป็นโซนที่มีแต่น้ำเท่านั้นโดยส่วนนี้จะเป็นส่วนของน้ำใต้ดินที่แท้จริง
           วัฏจักรน้ำ (อังกฤษ: Hydrologic cycle) กล่าวถึงการเคลื่อนที่อย่างคงที่ของน้ำทั้งเหนือและใต้ผิวโลก วัฎจักรของน้ำเริ่มจากการระเหยน้ำจากพืช ดินชื้น และทะเล ความชื้นจากการระเหยนี้จะคืนกลับสู่ผิวดิน โดยการกลั่นตัว การกลั่นตัวเกิดได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฝน หิมะ และลูกเห็บ แต่ในแง่น้ำบาดาลจะพิจารณาแต่ฝนเท่านั้น เมื่อฝนตกลงมาสู่ผิวดิน น้ำฝนจะซึมลง (infiltration) ใต้ดิน โดยค่า infiltration จะมีค่ากว้างมากขึ้นกับการใช้งานพื้นที่ ความชื้นของดิน และระยะเวลาที่ได้รับน้ำ เมื่อใดก็ตามที่ฝน (precipitation) ตกในปริมาณที่มากจะเกิดการซึมลง (infiltration) สู่ใต้ดินเพิ่มขึ้น น้ำที่ซึมลงจะไปแทนที่ความชื้นในดิน และค่อยไหลเข้าสู่โซน intermediate และเข้าสู่โซนน้ำอิ่มตัว (saturated zone) น้ำในโซนที่อิ่มตัวจะซึมในลงในแนวดิ่งและแนวราบเป็น discharge ออกจากชั้นน้ำบาดาลเช่น น้ำพุบนภูเขา หรือ น้ำซึมในลำธาร จากนั้นก็จะระเหยกลับเข้าสู่วัฏจักรอีกครั้ง น้ำที่เติมในแม่น้ำ ทั้งจากการไหลบนผิวดินและจาก discharge ของน้ำบาดาลจะไหลลงทะเลทั้งหมดและระเหยกลับเข้าสู่กระบวนการอีกครั้ง
 
-ชั้นหินอุ้มน้ำ (อังกฤษ: Aquifer) คือชั้นของหินที่มีรูพรุนซึ่งสามารถกักเก็บน้ำและไหลผ่านรูพรุนเพื่อสูบใช้ได้ โดยชั้นหินอุ้มน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ

-ชั้นหินอุ้มน้ำแบบเปิด (unconfined layer)
คือชั้นน้ำบาดาลที่ไม่ถูกปิดทับโดย คือชั้นหินที่น้ำไม่สามารถซึมผ่านได้ semipervious strata หรือซึมผ่านได้ยาก Impervious strata เมื่อไม่ถูกปิดทับชั้นน้ำจึง ไร้แรงดันและน้ำจากผิวดินสามารถซึมลงไปได้โดยตรง โดยระดับที่น้ำจะถูกดึงโดยแรงดึงดูดโลกและเติมในโซนอิ่มตัวของชั้นน้ำนี้เรียกว่า water table หรือ phreatic surface เมื่อทำการเจาะบ่อในชั้นน้ำนี้ระดับน้ำจะอยู่ในระดับ water table และระดับน้ำสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาขึ้นกับปริมาณน้ำ Recharge และ Discharge ชั้นหินอุ้มน้ำนี้มี คุณภาพต่ำและปนเปื้อนได้ง่ายจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น ยาฆ่าแมลง ปุ๋ย บ่อเกรอะ และสารเคมีต่างๆ เนื่องจากสารเคมีที่ตกค้างในผิวดินสามารถถูกชะ โดยน้ำฝนและซึมเข้า สู่ชั้นน้ำบาดาลนี้ได้โดยตรง
 
-ชั้นหินอุ้มน้ำแบบปิด(confined layer)
คือชั้นน้ำบาดาลที่มีชั้นหินที่น้ำไม่สามารถซึมผ่านได้หรือซึมผ่านได้ยากปิดทับ ทำให้ชั้นน้ำนี้มีแรงดัน บางครั้งจึงเรียกชั้นน้ำนี้ว่า Pressure aquifer หรือ Artesian aquifer โดยแรงดันจะอยู่ในลักษณะ Hydrostatic pressure คือ มีแรงดันเท่ากันทุกจุด โดยมี Piezometric surface เป็นชั้นสมมติที่แสดงระดับน้ำที่ความดันเท่ากันโดยอ้างอิงจากน้ำ ในบ่อเจาะชั้นน้ำ หากทำการเจาะบ่อสำรวจในชั้นน้ำจะพบว่าระดับน้ำในบ่อเปลี่ยนแปลงน้อยมากและระดับน้ำในบ่อจะสูงกว่าชั้นหินอุ้มน้ำที่ถูกปิดทับเนื่องจากมีแรงดัน คุณภาพ น้ำในชั้นหินอุ้มน้ำถูกปิดทับจะมีคุณภาพสูงไม่ถูกปนเปื้อนได้ง่าย แต่ถ้าหากปนเปื้อนจะใช้เวลานานมากในการตรวจพบ
 
บริการรถเจาะบาดาลสกลนคร
 
– บริการขุดเจาะน้ำบาดาลสกลนคร เพื่อนำมาทำน้ำประปาใช้ภายในบ้าน
– ช่างรับปรึกษางานระบบประปา อบต หมู่บ้าน โรงงานทำน้ำดื่ม โครงการบ้านจัดสรร โรงแรม รีสอร์ท
– บริการขุดเจาะบาดาลสกลนคร ทำการเกษตร นาข้าว พืชผัก ไร่ผลไม้ สวนยางพารา มันสัปหลัง อื่น ชมผลงานการเจาะน้ำบาดาลสกลนคร
– ออกแบบพัฒนาจัดหาแหล่งน้ำบาดาลสกลนคร ให้คุณเพื่ออนาคต
– รับปรึกษางานระบบประปา ของโครงการ ปศุสัตว์ ฟาร์มหมู ฟาร์มไก่ และอื่นๆ
– รับสำรวจหาแหล่งน้ำบาดาลสกลนคร ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาลสกลนคร ให้คำปรึกษา
– ติดตั้งปั้มต่างๆ เป่าบ่อ ล้างบ่อ ซ่อมแซมบ่อ ราคาเป็นกันเอง
– ให้คำแนะนำปัญหาน้ำบาดาลในพื้นที่จังหวัดสกลนคร

 
              น้ำบาดาลเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า และถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันเพื่อการอุปโภค บริโภค การอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ซึ่งการพัฒนานำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้นี้ หากทำในลักษณะที่ไม่ถูกต้อง จะทำให้ระดับน้ำบาดาลลดลงอย่างมาก และเป็นการลดลงที่ไม่สัมพันธ์กับการเพิ่มเติมของน้ำบาดาลตามธรรมชาติ ก่อให้เกิดผลกระทบตามมาทั้งใจแง่ของแผ่นดินทรุด การแทรกซึมของน้ำทะล การปนเปื้อนของน้ำบาดาล และอื่นๆ ดังนั้นเราควรจะมีความรู้พื้นฐานด้านการเกิดน้ำบาดาลรวมทั้งการพัฒนานำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้อย่างถูกต้อง เพื่อให้เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน

         น้ำบาดาล หมายถึง ส่วนของน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ในเขตอิ่มน้ำ รวมถึงธารน้ำใต้ดิน โดยทั่วไป หมายถึง น้ำใต้ผิวดินทั้งหมด ยกเว้นน้ำภายในโลก ซึ่งเป็นน้ำอยู่ใต้ระดับเขตอิ่มน้ำ (พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา, 2530)
คุณภาพของน้ำบาดาล
 
โดยทั่วไป น้ำบาดาลเป็นน้ำที่สะอาด ปราศจากสารแขวนลอย สารอินทรีย์เคมี และเชื้อโรคต่างๆ ไม่มีกลิ่นที่น่ารังเกียจ แต่ขณะที่ไหลผ่านไปตามชั้นดิน/ชั้นหิน อาจจะละลายเอาแร่ธาตุเข้ามาปะปน รวมทั้งถูกปนเปื้อนด้วยน้ำที่มีคุณภาพด้อยกว่า ทำให้คุณภาพของน้ำบาดาลเปลี่ยนไป
 
บ่อน้ำบาดาล
บ่อน้ำบาดาล เป็นวิธีการนำน้ำบาดาลจากใต้ดินขึ้นมาใช้ เพื่อประโยชน์ในด้านการอุปโภคบริโภค การอุตสาหกรรม หรือการเกษตรกรรมและการชลประทาน
 
ผลกระทบจากการใช้น้ำบาดาล
 
ด้านปริมาณ ได้แก่ การลดลงของระดับน้ำบาดาล
ด้านคุณภาพ ได้แก่ การปนเปื้อนของน้ำบาดาล
 
การกำเนิดของน้ำบาดาล
น้ำบาดาล เกิดจากน้ำในบรรยากาศ ซึ่งตกลงมาในลักษณะของฝน  ไหลซึมลงไปตามช่องว่าง ระหว่างเม็ดดิน/เม็ดหิน  ผ่านส่วนสัมผัสอากาศ  ไปยังที่ต่ำกว่า หรือ มีแรงดันน้อยกว่า แล้วสะสมรวมกันจนกลายเป็นส่วนที่อิ่มตัวด้วยน้ำ
 
ส่วนสัมผัสอากาศ หมายถึง ส่วนที่อยู่ติดผิวดิน ในส่วนนี้ช่องว่างบางส่วน จะมีน้ำกักขังอยู่ และบางส่วนจะมีอากาศแทรกอยู่ น้ำใต้ดินที่ถูกกักเก็บอยู่ในส่วนนี้ เรียกว่า น้ำในดิน (suspended water หรือ vadose water)
 
ส่วนอิ่มตัวด้วยน้ำ  จะวางตัวอยู่ใต้ส่วนสัมผัสอากาศ ช่องว่างในหินส่วนนี้จะมีน้ำแทรกตัวอยู่เต็มไปหมด น้ำใน ส่วนนี้เรียกว่า น้ำบาดาล (groundwater) ผิวบนของ ส่วนอิ่มตัวด้วยน้ำ ซึ่งต่อกับส่วนสัมผัสอากาศ เรียก ระดับ น้ำบาดาล (groundwater table หรือ water table) ส่วนอิ่มตัวด้วยน้ำ แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
  ส่วนที่เป็นชั้นตะกอนร่วน
  ส่วนที่เป็นหินแข็งที่มีรอยแตก รอยแยก และมีโพร
การไหลของน้ำใต้ดิน
การไหลของน้ำใต้ดินจะเป็นไปอย่างช้ามาก วัดโดยใช้หน่วยเป็นเซนติเมตรต่อวัน หรือต่อปี ความเร็วในการไหลจะขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลัก คือ ความพรุน และ ความซึมได้
 
ความพรุน (Porosity) หมายถึง ช่องว่างในหิน โดยคิดเป็นเปอร์เซนต์ของปริมาตรทั้งหมด  ความพรุนจะขึ้นอยู่กับ รูปร่าง ลักษณะขนาด การคัดขนาด และการคลุกเคล้ากันของเศษหินเล็กๆ ซึ่งจะแตกต่างกันในหินแต่ละชนิด


เจาะบาดาลในสกลนคร
 เจาะบาดาลใน อำเภอกุดบาก
เจาะบาดาลในตำบลกุดบาก
เจาะบาดาลในตำบลกุดไห
เจาะบาดาลในตำบลนาม่อง
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอกุสุมาลย์
เจาะบาดาลในตำบลกุสุมาลย์
เจาะบาดาลในตำบลนาเพียง
เจาะบาดาลในตำบลนาโพธิ์
เจาะบาดาลในตำบลอุ่มจาน
เจาะบาดาลในตำบลโพธิไพศาล
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอคำตากล้า
เจาะบาดาลในตำบลคำตากล้า
เจาะบาดาลในตำบลนาแต้
เจาะบาดาลในตำบลหนองบัวสิม
เจาะบาดาลในตำบลแพด
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอนิคมน้ำอูน
เจาะบาดาลในตำบลนิคมน้ำอูน
เจาะบาดาลในตำบลสุวรรณคาม
เจาะบาดาลในตำบลหนองบัว
เจาะบาดาลในตำบลหนองปลิง
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอบ้านม่วง
เจาะบาดาลในตำบลดงหม้อทอง
เจาะบาดาลในตำบลดงหม้อทองใต้
เจาะบาดาลในตำบลดงเหนือ
เจาะบาดาลในตำบลบ่อแก้ว
เจาะบาดาลในตำบลมาย
เจาะบาดาลในตำบลม่วง
เจาะบาดาลในตำบลหนองกวั่ง
เจาะบาดาลในตำบลห้วยหลัว
เจาะบาดาลในตำบลโนนสะอาด
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอพรรณานิคม
เจาะบาดาลในตำบลช้างมิ่ง
เจาะบาดาลในตำบลนาหัวบ่อ
เจาะบาดาลในตำบลนาใน
เจาะบาดาลในตำบลบะฮี
เจาะบาดาลในตำบลพรรณา
เจาะบาดาลในตำบลพอกน้อย
เจาะบาดาลในตำบลวังยาง
เจาะบาดาลในตำบลสว่าง
เจาะบาดาลในตำบลเชิงชุม
เจาะบาดาลในตำบลไร่
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอพังโคน
เจาะบาดาลในตำบลต้นผึ้ง
เจาะบาดาลในตำบลพังโคน
เจาะบาดาลในตำบลม่วงไข่
เจาะบาดาลในตำบลแร่
เจาะบาดาลในตำบลไฮหย่อง
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอภูพาน
เจาะบาดาลในตำบลกกปลาซิว
เจาะบาดาลในตำบลสร้างค้อ
เจาะบาดาลในตำบลหลุบเลา
เจาะบาดาลในตำบลโคกภู
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอวานรนิวาส
เจาะบาดาลในตำบลกุดเรือคำ
เจาะบาดาลในตำบลขัวก่าย
เจาะบาดาลในตำบลคอนสวรรค์
เจาะบาดาลในตำบลคูสะคาม
เจาะบาดาลในตำบลธาตุ
เจาะบาดาลในตำบลนาคำ
เจาะบาดาลในตำบลนาซอ
เจาะบาดาลในตำบลวานรนิวาส
เจาะบาดาลในตำบลศรีวิชัย
เจาะบาดาลในตำบลหนองสนม
เจาะบาดาลในตำบลหนองแวง
เจาะบาดาลในตำบลหนองแวงใต้
เจาะบาดาลในตำบลอินทร์แปลง
เจาะบาดาลในตำบลเดื่อศรีคันไชย
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอวาริชภูมิ
เจาะบาดาลในตำบลคำบ่อ
เจาะบาดาลในตำบลค้อเขียว
เจาะบาดาลในตำบลปลาโหล
เจาะบาดาลในตำบลวาริชภูมิ
เจาะบาดาลในตำบลหนองลาด
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอสว่างแดนดิน
เจาะบาดาลในตำบลคำสะอาด
เจาะบาดาลในตำบลค้อใต้
เจาะบาดาลในตำบลตาลเนิ้ง
เจาะบาดาลในตำบลตาลโกน
เจาะบาดาลในตำบลทรายมูล
เจาะบาดาลในตำบลธาตุทอง
เจาะบาดาลในตำบลบงเหนือ
เจาะบาดาลในตำบลบงใต้
เจาะบาดาลในตำบลบ้านต้าย
เจาะบาดาลในตำบลบ้านถ่อน
เจาะบาดาลในตำบลพันนา
เจาะบาดาลในตำบลสว่างแดนดิน
เจาะบาดาลในตำบลหนองหลวง
เจาะบาดาลในตำบลแวง ตำบลโคกสี
เจาะบาดาลในตำบลโพนสูง
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอส่องดาว
เจาะบาดาลในตำบลท่าศิลา
เจาะบาดาลในตำบลปทุมวาปี
เจาะบาดาลในตำบลวัฒนา
เจาะบาดาลในตำบลส่องดาว
 
 เจาะบาดาลใน อำเภออากาศอำนวย
เจาะบาดาลในตำบลท่าก้อน
เจาะบาดาลในตำบลนาฮี
เจาะบาดาลในตำบลบะหว้า
เจาะบาดาลในตำบลวาใหญ่
เจาะบาดาลในตำบลสามัคคีพัฒนา
เจาะบาดาลในตำบลอากาศ
เจาะบาดาลในตำบลโพนงาม
เจาะบาดาลในตำบลโพนแพง
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอเจริญศิลป์
เจาะบาดาลในตำบลทุ่งแก
เจาะบาดาลในตำบลบ้านเหล่า
เจาะบาดาลในตำบลหนองแปน
เจาะบาดาลในตำบลเจริญศิลป์
เจาะบาดาลในตำบลโคกศิลา
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอเต่างอย
เจาะบาดาลในตำบลจันทร์เพ็ญ
เจาะบาดาลในตำบลนาตาล
เจาะบาดาลในตำบลบึงทวาย
เจาะบาดาลในตำบลเต่างอย
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอเมือง
เจาะบาดาลในตำบลขมิ้น
เจาะบาดาลในตำบลงิ้วด่อน
เจาะบาดาลในตำบลดงชน
เจาะบาดาลในตำบลดงมะไฟ
เจาะบาดาลในตำบลท่าแร่
เจาะบาดาลในตำบลธาตุนาเวง
เจาะบาดาลในตำบลธาตุเชิงชุม
เจาะบาดาลในตำบลพังขว้าง
เจาะบาดาลในตำบลม่วงลาย
เจาะบาดาลในตำบลหนองลาด
เจาะบาดาลในตำบลห้วยยาง
เจาะบาดาลในตำบลฮางโฮง
เจาะบาดาลในตำบลเชียงเครือ
เจาะบาดาลในตำบลเหล่าปอแดง
เจาะบาดาลในตำบลโคกก่อง
เจาะบาดาลในตำบลโนนหอม
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอโคกศรีสุพรรณ
เจาะบาดาลในตำบลด่านม่วงคำ
เจาะบาดาลในตำบลตองโขบ
เจาะบาดาลในตำบลเหล่าโพนค้อ
เจาะบาดาลในตำบลแมดนาท่ม
 
 เจาะบาดาลใน อำเภอโพนนาแก้ว
เจาะบาดาลในตำบลนาตงวัฒนา
เจาะบาดาลในตำบลนาแก้ว
เจาะบาดาลในตำบลบ้านแป้น
เจาะบาดาลในตำบลบ้านโพน
เจาะบาดาลในตำบลเชียงสือ